หมั่นสังเกต พัฒนาการแต่ละช่วงวัย ของลูก เพื่อส่งเสริมสติปัญญา

พัฒนาการแต่ละช่วงวัย

                เชื่อว่าพ่อแม่หลายคนเฝ้าดูการเจริญเติบโตของลูกตั้งแต่อยู่ในท้อง นั้นคือการอัลเตอร์ซาวด์หรือบางคนมีแอพพลิเคชั่นที่สามารถเห็นภาพเด็กในท้องว่าตอนนี้มีอวัยวะใดงอกออกมาแล้วบ้าง ถือเป็นพัฒนาการที่ทำให้พ่อแม่หลายคนตื้นตัน เมื่อคลอดออกมาก็มิวายที่จะติดตาม พัฒนาการแต่ละช่วงวัย เพื่อส่งเสริมในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการโต้ตอบที่จะสร้างสัมพันธ์ระหว่างแม่และลูก เราไปดูกันว่าเด็กคนหนึ่งจะมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไรในแต่ละวัย

พัฒนาการแต่ละช่วงวัย

พัฒนาการของวัยทารก

                สำหรับวัยทารกจะนับตั้งแต่ที่ได้คลอดออกมาจากท้องแม่ไปจนถึงอายุ 24 เดือน ซึ่งจะมีการเจริญเติบโต มีพัฒนาการที่ไวต่อการรับรู้ รวมไปถึงแสงสามารแบ่งเป็นได้ 2 ช่วงคือ ช่างวัยแรกเกิดและช่วงวัยทารก จะมีความแตกต่างกันจะสังเกตได้จากรายละเอียดที่เรานำมา ดังนี้

               – วัยทารกแรกเกิด จะนับตั้งแต่ที่ได้คลอดออกมาจนไปถึง 2 สัปดาห์ ถือว่าในช่วงนี้ทารกกำลังฟื้นตัวและแม้ว่าก่อนหน้านั้นทารกจะอยู่ในอุณหภูมิประมาณ 37 องศาเซลเซียสก็ตาม แต่เขาสามารถปรับร่างกายให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในท้องและภายนอกครรภ์มารดา ฉะนั้นเมื่อคลอดออกมาแล้วจะถือเป็นระยะที่ทารกฟื้นตัว

                – ช่วงวัยทารก ที่มีอายุ 2 สัปดาห์ถึง 2 ปี แน่นอนว่าพัฒนาการในช่วงวัยนี้มีควาเปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ชัด โดยเขาจะเริ่มแสดงความสนใจต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ รวมไปถึงเมื่อคนรอบข้างมีการสื่อสารเขาจะสามารถโต้ตอบได้ด้วยการยิ้ม สบตาไปจนถึงพูดคุยสื่อสารในช่วง 2 ปีนั้นเอง

วัยแรกเกิดกับ พัฒนาการแต่ละช่วงวัย พฤติกรรม ที่เปลี่ยนไป

                จากที่ทารกตัวน้อยสามารถสบตา ยิ้มตอบสนองต่อคนรอบข้าง จะเห็นได้เมื่อเขาออกมาสู่โลกภายนอกสักระยะหนึ่งจะมีพฤติกรรมต่างไปจากเดิม ซึ่งแน่นอนว่า พัฒนาการแต่ละช่วงวัย นั้นแตกต่างกันและหากมีการเปลี่ยนแปลงถือเป็นสัญญาณที่ดี โดยวัยทารกแรกเกิดมีพัฒนาการ สามารถแบ่งออกได้ดังนี้

                 ด้านร่างกาย หากมองด้วยตาจะเห็นว่ามือเล็ก ๆ แขนและขาของเขามีผิวหนังนุ่มอมชมพู พร้อมกับเกิดขนอ่อน ๆ ตามผิวหนัง หน้าผากและเมื่อผ่านไปสักระยะจะหล่นร่วงไปเอง น้ำหนักโดยส่วนใหญ่จะมีน้ำหนักประมาณ 3,100 กรัม ลำตัวยาวประมาณ 50 เซนติเมตร ด้วยความที่เขายังมีโคงกระดูกที่ยังอ่อนอยู่ โดยเฉพาะกะโหลกศีรษะ เมื่อสัมผัสหรืออุ้มจะต้องจับด้วยความระมัดระวัง มิเช่นนั้นอาจทำให้ได้รับบาดเจ็บได้ ในช่วงนี้ถือว่ากระดูกยังไม่แข็งแรงมากนัก

               ด้านพฤติกรรม สำหรับช่วงวัยนี้จะยังไม่มีอะไรที่พิเศษมากนัก ด้วยสมองและประสาทยังต้องใช้เวลาพัฒนาไปสักระยะ ฉะนั้นช่วงนี้จึงจะมีพฤติกรรมตอบสนองต่อการอยู่รอด เช่น นอนดิ้นไปมา  เมื่อมีแสงจ้าจะหลับตาและดิ้น อีหนึ่งพฤติกรรมคือการรู้จักดูดนมแม่ ดูดนิ้วมือ

               ด้านอารมณ์ สิ่งที่เขารู้สึกได้คือ ความรัก ความหิว ความโกรธและความกลัว ซึ่งคนรอบข้างโดยเฉพาะแม่ผู้ให้กำเนิดถือว่ามีอิทธิพลต่อทารกอย่างมาก เรียกได้ว่าสิ่งเหล่านี้นอกจากจะได้รับการกระตุ้นที่ดีส่งผลในด้านอารมณ์และเขาโตขึ้นจะรับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้ด้วยเหตุผล ฉะนั้นจะต้องให้ความใส่ใจ แสดงความรักด้วยการกอดมาก ๆ จะทำให้ลูกน้อยมีอารมณ์สดชื่นแจ่มใส นี่จึงถือเป็น พัฒนาการแต่ละช่วงวัยที่พ่อแม่ควรให้ความสำคัญ

พัฒนาการแต่ละช่วงวัย

วัยทารกกับพัฒนาการที่เติบโตอย่างเห็นได้ชัด

                วัยนี้ทารกเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและพัฒนาการการเคลื่อนไหวที่เริ่มต้นด้วยการกระดึ๊บ แล้วค่อย ๆ คลาน สามารถพูดได้เป็นบางคำแล้วแต่ว่าพ่อแม่จะฝึกลูกอย่างไร ส่วนด้านอื่นอย่าง อารมณ์ สติปัญญาและการเข้าสังคมจะค่อย ๆ เริ่มพัฒนาแต่อาจไม่ดีเท่าไหร่นัก พ่อแม่ก็อย่าพึ่งร้อนใจไป อย่างไรก้ตามลองศึกษาข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ พัฒนาการแต่ละช่วงวัย ทารกนี้ว่าเป็นอย่างไร

                          -ส่วนสูงของเด็กแรกเกิดอยู่ที่ประมาณ 45-50 เซนติเมตรและเมื่อขั้วย 1 ขวบส่วนสูงจะเพิ่มไปที่ประมาณ 75 เซนติเมตร ซึ่งพ่อแม่จะต้องสังเกตดูความปกติของลูก เพื่อจะได้ดูแลอย่างถูกวิธี

                          -สำหรับวัยทารกน้ำหนักเมื่อคลอดออกมาน้ำหนักมากกว่า 2 เท่าของทารกวัยแรกเกิดและแน่นอนเมื่อเวลาผ่านไปจะเริ่มเพิ่มขึ้นไปตามลำดับนั้นเอง

                          -ศีรษะ หากวัดจะได้ความกว้างที่ประมาณ 33-37เซนติเมตร  ซึ่งกะโหลกจะยังไม่เต็มในขณะที่สมองของเด็กแรกเกิดมีน้ำหนักประมาณร้อยละ 25 ของน้ำหนักสมองของผู้ใหญ่และจะไม่หยุดพัฒนา ซึ่งในช่วงระยะ 6เดือน จะเพิ่มเป็นร้อยละ 50 และต่อจากอายุ 4 ปี จะมีการพัฒนาการอย่างรวดเร็ว

                         -โครงกระดูกและฟันเป็นช่วงวัยที่มีการเจริญเติบโตที่เร็วมากทั้งความยาวของกระดูก ความกว้างและความแข็งตัว แน่นอนว่ากระดูกขอทารกจะไม่แข็งแรงเท่าผู้ใหญ่ แต่ในส่วนของกระดูกมือ ข้อมือ เริ่มมีความแข็งแรง สามารถขยับและหยิบจับสิ่งขอบต่าง ๆ ได้ด้วยสองมือ ส่วนกะโหลกศีรษะเมื่อคลอดออกมาจะยังไม่ปิดสนิทดีนัก คือ ด้านหน้า ด้านข้างบริเวณกกหู ด้านหลังบริเวณท้ายทอยและด้านหน้า ซึ่งจะต้องใช้เวลาในการให้กะโหลกได้เชื่อมปิดสนิทประมาณ 6-8สัปดาห์

                         -ฟัน ประมาณช่วงอายุ 6-8เดือนละครบ 20ซี่และเริ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนครบทุกซี่ ในช่วงวลานี้พ่อแม่จะต้องใส่ใจดูแลฟันลูกน้อย พร้อมกับปลูกฝังให้รู้จักแปรงฟัน

                         –พัฒนาการแต่ละช่วงวัย6 เดือนแรก อย่างระบบประสาทสมองของทารกเริ่มมีการพัฒนาถึงร้อยละ 50 และเมื่ออายุครบ 2 ขวบสมองก็เริ่มพัฒนาเรื่อย ๆ ที่ร้อยละ 75 ซึ่งจะมีการรับรู้และการเคลื่อนไหว ฉะนั้นพ่อแม่จึงจะเห็นลูก้อยเริ่มมีพัฒนาการที่ดี

                         -อย่างที่เรากล่าวไปว่า พัฒนาการแต่ละช่วงวัย เด็กเริ่มมีการเคลื่อนไหวที่ดี แต่ก็ยังไม่มีจุดหมาย จึงเหวี่ยงแขนไปมา พร้อมกับสามารถที่จะควบคุมได้ เพียงแต่ยังต้องอาศัยการเรียรนรู้การเคลื่อนไหวและพัฒนาไปเรื่อย ๆ

สรุป

                จากข้อมูลข้างต้นพัฒนาการแต่ละช่วงวัย ส่งผลต่อพฤติกรรมอย่างมาก ซึ่งพ่อแม่ที่ดูแลอย่างใกล้ชิด ควรใส่ใจในทุก ๆ ย่างก้าว เพราะถือเป็นช่วงเวลาทสำคัญที่เขาจะเติบโตเข้าสังคมได้อย่างง่ายดาย ปรับตัวเข้ากับทุกสถานการณ์ได้และเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบ แน่นอนทุกอย่างจะเกิดขึ้นได้ต้องได้รับการปลูกฝังและส่งเสริมพัฒนา การเปลี่ยนแปลงของแต่ละช่วงวัย ได้อย่างเหมาะสม Ufabet เว็บหลัก ufabet

https://www.pobpad.com/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A7

https://ufoid.net/2020/08/01/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7-%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%A3/